Wy/th/ระบบไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้าในแต่ละประเทศแตกต่างกันไปโดยเฉพาะแรงดันและความถี่ หน้าสัมผัสทางกายภาพ (เต้าเสียบและเต้ารับ) ก็ต่างกันออกไปอีกด้วยและมักจะใช้ข้ามระบบกันไม่ได้ นักเดินทางสามารถศึกษาและเตรียมตัวเพื่อเตรียมให้อุปกรณ์ไฟฟ้าของตนใช้งานได้ในจุดหมายปลายทาง
ทำความเข้าใจ
[edit | edit source]แรงดันและความถี่
[edit | edit source]คำเตือน It is very important to only connect a device to voltage in the range it is designed for. In all cases using an input voltage outside the design specification is an exceedingly bad idea.
In particular, connecting a device that is designed for 110 V to a 230 V supply can be very dangerous; there is severe risk of damage to the device, and it may catch fire or even explode! For a simple resistive load doubling the input voltage quadruples the power and heat, and this is a reasonable first approximation for any load. Connecting a higher voltage (220–240 V) device to a low voltage supply (110 V) is not completely risk free, although certainly much less dangerous than the other way round. Never assume the voltage is correct just because the plug fits. | |
เริ่มต้นด้วยการดูฉลากของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่คุณต้องการใช้ ถ้ามีเขียนไว้ทำนองว่า "100-240V, 50/60 Hz" ก็ใช้ที่ไหนก็ได้ทั่วโลกขอเพียงแต่หาตัวแปลงเต้าเสียบเต้ารับให้เหมาะสมก็พอ ซึ่งถ้าคุณมีอยู่แล้วก็อ่านหัวข้อถัดไปได้เลย แต่ถ้ายังไม่มีก็อ่านต่อ
เรื่องไฟฟ้าอาจดูซับซ้อน แต่ความจริงแล้วก็ไม่ได้ยากนัก ทั้งโลกนี้มีระบบไฟฟ้าอยู่เพียงสองแบบหลักเท่านั้น แต่มีจุดเชื่อมต่อทางกายภาพหลายแบบแตกต่างกันไปตามภูมิภาคและประเทศ ระบบไฟฟ้าทั้งสองแบบได้แก่
- 100-127 โวลต์ ความถึ่ 60 hertz frequency (โดยทั่วไปคือ อเมริกาเหนือ อเมริกากลาง ญี่ปุ่นตะวันตก)
- 220-240 โวลต์ ความถึ่ 50 hertz frequency (โดยทั่วไปคือ ส่วนที่เหลือของโลก)
อย่างไรก็ดี คุณอาจพบ 100-127 โวลต์ ความถี่ 50 Hz ได้ในโตเกียว, Madagascar, และหมู่เกาะในทะเล Caribbean ในทางตรงข้าม ก็ยังมีระบบ 220-240 โวลต์ที่ความถี่ 60 Hz เช่นใน South Korea, Peru, รวมถึงบางรัฐในBrazil และ Guyana บางประเทศที่ใช้ความถี่ 60 Hz มีแรงดันทั้งแบบ 100-127 โวลต์ในบางพื้นที่และ 220-240 โวลต์ในส่วนที่เหลือ เช่น Brazil, Philippines, และ Saudi Arabia พึงระวังเป็นพิเศษเมื่อคุณเดินทางไปที่จุดหมายที่ไม่เคยไปมาก่อนโดยเฉพาะภายในประเทศที่กล่าวมานี้ พึงศึกษาเรื่อง multiphase electrical systems ประกอบด้วย (ดูด้านล่างในหัวข้อ Large Appliance Power)
ถ้าความถี่และแรงดันถูกต้องตรงกัน คุณก็แค่หาตัวแปลงปลั๊กเสียบให้เหมาะสมก็ใช้งานได้แล้ว (ความแตกต่างระหว่าง 110V กับ 120V หรือ 220V กับ 240V ถือว่าพอใช้กันได้โดยสำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป)
หากแรงดันไม่ถูกต้องตรงกันกับเครื่องใช้ไฟฟ้า คุณจะต้องใช้ หม้อแปลง หรือ converter เพื่อปรับแรงดันไฟฟ้า ปกติแล้วมีจำหน่ายทั่วไปในร้านขายของเพื่อการท่องเที่ยว
เต้าเสียบและตัวปรับต่อ
[edit | edit source]อุปกรณ์ที่ทำให้คุณสามารถเสียบเต้าเสียบของอุปกรณ์ไฟฟ้าของคุณเข้ากับเต้ารับในระบบต่างกันเรียกว่า ตัวปรับต่อ (adapter) ซึ่งมีขนาดเล็กและราคาไม่แพงนัก การเดินทางระหว่างสหราชอาณาจักรและเยอรมนี คุณต้องการเพียงตัวปรับต่อเท่านั้น โดยตัวปรับต่อจะทำให้ขาเหลี่ยมในแบบอังกฤษกลายเป็นขากลมแบบเยอรมัน และอาจต่อสายดินให้เชื่อมโยงเข้ากันด้วย
มีปลั๊กหลายรูปแบบในโลกนี้ โดยส่วนใหญ่คือ
- "แบบอเมริกัน" (ชนิด A) ขาแบนสองขาขนานกัน
- "แบบยุโรป" (ชนิด C) ขากลมสองขา
- "แบบอังกฤษ" (ขนิด G) ขาเหลี่ยมสามขา
ถ้าคุณมีอุปกรณ์ที่ปรับขาเต้าเสียบเครื่องใช้ไฟฟ้าของคุณให้เป็นไปได้ถึงสามแบบแล้ว คุณก็อาจเสียบอุปกรณ์ดังกล่าวได้กับ 90% ของโลก (ข้ายกเว้นสำคัญคือ แอฟริกาใต้, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, อาร์เจนตินา และบางส่วนของจีน ซึ่งใช้ปลั๊กชนิดe I ซึ่งมีขาแบนวางเฉียงเข้าหากัน) ตัวปรับต่อระหว่างชนิด A และชนิด C และจาก C เป็น G มีขนาดเล็กและราคาถูก ในขณะที่การแปลงชนิด A เป็นชนิด G หรือชนิด G เป็ยอย่างอื่นจำต้องใช้อุปกรณ์ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
สำหรับช่างไฟฟ้ามือสมัครเล่นที่อาจอยู่ต่างแดนเป็นเวลานาน คุณสามารถซื้อหัวปลั๊กตัวผู้ที่ประเทศปลายทาง แล้วตัดต่อสายใหม่ ซึ่งอาจหาได้ง่ายกว่าและราคาถูกกว่า คำเตือน: มีความเสี่ยงในการเกิดไฟฟ้าช็อตก่อให้เกิดเพลิงไหม้และเป็นอันตรายถึงชีวิตหากคุณทำไม่ถูกหลักวิชา
คุณอาจเสียบปลั๊กชนิด C ลงในเต้ารับชนิด G โดยไม่ต้องมีตัวแปลงใดๆ หากเอาวัตถุอื่นใดเสียบลงในรูสายดินเพื่อให้รูปที่เหลือทั้งสองเปิดออก (นี่เป็นหลักการเดียวกันกับที่ตัวปรับต่อหลายรุ่นใช้) ปิดไฟก่อนเสียบ และหาวัสดุที่ไม่นำไฟฟ้ามาเสียบที่รูปสายดิน วิธีนี้อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่เต้ารับและทำให้เจ้าของสถานที่ไม่พอใจได้ ทั้งยังอาจเป็นการผิดกฎหมาย
เต้ารับแบบสองขา (สองรู) จะไม่มีสายดิน แต่เต้าเสียบที่มีสามขา (สามแท่ง) จะมีสายดิน เต้ารับชนิด C, D, E, F, H, J, K หรือ L จะยอมรับปลั๊กที่ไม่มีสายดินชนิด C แต่สายดินจะไม่ทำงานหากไม่ใช้เต้าเสียบสายดินแบบของมันเท่านั้น การใช้ตัวปรับต่อที่ทำให้เต้าเสียบสามขากลายเป็นเต้าเสียบสองขาอาจก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ เพราะมีความเสี่ยงจากการที่สายดินไม่ได้เชื่อมต่อ
ในประเทศกำลังพัฒนาหลายแห่งใช้เต้ารับที่รองรับได้หลายชนิด multi-plug เช่น รับได้ทั้ง ชนิด A และชนิด C อย่าเหมาไปเองว่าแรงดันไฟฟ้าจะถูกต้องเพราะว่าปลั๊กเสียบกันได้ เต้ารับ ชนิด A+C ในประเทศไทยมีแรงดันไฟฟ้า 220V และอาจทำลายอุปกรณ์ไฟฟ้าจากอเมริกา (110V) ที่ใช้ปลั๊กชนิด A
หม้อแปลงหรือตัวแปลง?
[edit | edit source]
รายละเอียดทางเทคนิค ความแตกต่างระหว่างหม้อแปลกง (transformer) และตัวแปลง (converter) อยู่ที่วิธีการแปลงแรงดันไฟฟ้า ตัวแปลงใช้วิธีตัดคลื่นออกเสียครึ่งหนึ่ง ซึ่งง่ายและใช้พื้นที่ไม่มาก ตัวแปลงจึงมีราคาถูกและขนาดเล็ก หม้อแปลงปรับแรงดันและกระแสไปตามส่วน ซึ่งต้องใช้พื้นที่มากกว่า หนักกว่า และแพงกว่า เพราะมักทำจากขดลวดพันรอบแกนเหล็ก อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไปอาจทำงานได้ทั้งกับคลื่นไซน์เต็มรูปแบบและคลื่นไซน์เพียงครึ่งหนึ่ง ในขณะที่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จำต้องใช้คลื่นไซต์ที่สมบูรณ์เท่านั้น |
การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าระบบ 220V-240V กับแหล่งจ่ายไฟแบบ 110V คุณต้องใช้หม้อแปลง (transformer)
ถ้าต้องการใช้อุปกรณ์ 110V ขณะที่แหล่งจ่ายไฟคือ 220V-240V คุณอาจใช้หม้อแปลงหรือตัวแปลง (converter) ก็ได้ ซึ่งปกติแล้วตัวแปลงมีราคาถูกกว่า
ถ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าของคุณเป็นเพียงขดลวดทำความร้อนและมอเตอร์ไฟฟ้า เช่น ที่เป่าผม คุณอาจใช้เพียงตัวแปลงก็ได้ แต่ต้องมั่นใจว่าหม้อแปลงหรือตัวแปลงสามารถจ่ายกำลังไฟฟ้าได้เพียงพอสำหรับอุปกรณ์ของคุณ ถ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าของคุณเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และมีวงจรไฟฟ้าที่ละเอียดอ่อน เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ ทีวี ไมโครเวฟ เครื่องบันทึกวีดีโอหรือเสียง หรือ แม้แต่ที่ชาร์จแบตเตอร์รี่ คุณควรใช้หม้อแปลง
ก่อนที่จะซื้อของมาใช้ อ่านข้อมูลด้านล่างให้เข้าใจก่อน
หม้อแปลง
[edit | edit source]- มีสองประเภทคือ "แปลงขึ้น (step-up)" และ "แปลงลง (step-down)" หม้อแปลงที่แปลงขึ้นทำให้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องการแรงดันสูงต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟที่มีแรงดันต่ำได้ เช่น (เอาเครื่องใช้ไฟฟ้าจากอังกฤษไปใช้ในสหรัฐอเมริกา) หม้อแปลงที่แปลงแรงดันไฟฟ้าลงก็เป็นในทางตรงข้าม หม้อแปลงบางรุ่นก็ทำงานได้ทั้งสองแบบทั้งแปลงขึ้นและแปลงลง ต้องระมัดระวังให้มากและเลือกใช้ให้ถูกประเภท ถ้าคุณใช้หม้อแปลงสำหรับแปลงไฟ 110 โวลต์เป็น 220 โวลต์ ไปเสียบเข้ากับแหล่งจ่ายไฟที่เป็น 220 โวลต์อยู่แล้ว ผลที่ได้คือไฟ 440 โวลต์ ซึ่งสร้างความเสียหายแก่อุปกรณ์ไฟฟ้า เป็นอัตรายแก่ชีวิตและอาจก่อให้เกิดอัคคีภัย
- คุณต้องใช้อุปกรณ์ภายใต้ กำลังไฟฟ้า (wattage) ของหม้อแปลง และถ้าให้ดีก็ควรเผื่อกำลังของหม้อแปลงไว้ 10% หาไม่แล้วหม้อแปลงจะร้อนจนไหม้ ก่อนจะซื้อต้องตรวจดูกำลังไฟฟ้าให้ดีเสียก่อน หากไม่มีกำลังไฟฟ้าก็มักแสดง กระแสไฟฟ้าในหน่วยแอมแปร์ A ไว้ ซึ่งกำลังไฟฟ้าคำนวณได้จาก แรงดันไฟฟ้าคูณกับกระแสไฟฟ้า
- หม้อแปลงใช้ได้กับทั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไปและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทั้งยังอาจใช้ได้เป็นเวลานานพอสมควรหรืออาจใช้ต่อเนื่องไปก็ได้ ต่างจากตัวแปลงที่ใช้ได้เพียงเวลาจำกัด
ตัวแปลง
[edit | edit source]อุปกรณ์นี้มีน้ำหนักเบาราคาถูกและอาจรองรับกำลังไฟฟ้าได้ถึง 1600 วัตต์ แต่ทำงานได้เฉพาะสำหรับการแปลงแรงดันลงเท่านั้น นั่นคือสำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ไฟ 110-120 โวลต์ แต่นำไปใช้ในประเทศที่จ่ายไฟ 220-240 โวลต์ ตัวแปลงออกแบบมาเพื่อใช้งานเพียงหนึ่งหรือสองชั่วโมงต่อครั้งเท่านั้น ไม่ใช่ให้ใช้ต่อเนื่องกัน และอย่างที่กล่าวไปแล้วข้างต้น ไม่ควรใช้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีชิปหรือวงจรไฟฟ้าอย่างคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องบันทึกวีดีโอและเสียง หรืแแม้แต่เครื่องชาร์จแบตเตอรี่
ปัจจุบันอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จำหน่ายมาพร้อมกับตัวแปลงไฟที่แปลงไฟบ้านเป็นไฟกระแสตรง คุณไม่ควรใช้ตัวแปลงซ้อนลงไปอีก แต่จะต้องใช้หม้อแปลงเท่านั้น อย่างไรก็ดีตัวแปลงรุ่นใหม่หลายรุ่นรองรับระบบไฟทั้ง 110 และ 220 โวลต์ คุณจึงอาจเพียงหัวตัวต่อปลั๊กให้เสียบลงเข้ากับไฟบ้านได้ก็พอ
ความถี่
[edit | edit source]โดยปกติแล้วความถี่ไม่ใช่ปัญหา อุปกรณ์โดยทั่วไปทำงานได้ทั้งที่ความถี่ 50 และ 60 Hz โดยเฉพาะอุปกรณ์ที่ให้ความร้อนหรืออุปกรณ์ให้แสงสว่าง (ยกเว้นหลอดเรืองแสง)
ความถี่มักจะส่งผลกระทบต่อนาฬิกาและมอเตอร์ ซึ่งจะเร็วขึ้นหรือช้าลงตามความถี่ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงจากที่ออกแบบมาไว้ อย่างไรก็ดีอุปกรณ์ที่ทำงานโดยใช้แบตเตอรี่ซึ่งเป็นไฟฟ้ากระแสตรงจะทำงานได้กับทั้งความถี่ 50 และ 60 Hz เพราะว่าไฟฟ้ากระแสสลับถูกแปลงไฟฟ้ากระแสตรงก่อนป้อนเข้าสู่อุปกรณ์ไฟฟ้า
อย่างไรก็ตามอุปกรณ์ที่แปลงไฟสลับเป็นไฟตรงอาจได้รับผลกระทบจากความถี่ก็ได้ั เนื่องจากความถี่ 60 Hz จะถูกแปลงเป็นไฟตรงได้ง่ายกว่า แต่ในอุปกรณ์ไฟฟ้าส่วนใหญ่แล้วออกแบบมาเผื่อไว้ และอยู่ในขอบข่ายที่พอยอมรับได้ มีเพียงแต่แรงดันเท่านั้นที่จะต้องแปลงให้เหมาะสม เพราะมีความต่างกันถึงสองเท่าตัว
ในกรณีที่อุปกรณ์ของคุณไม่ทำงานหากความถี่ไฟฟ้าไม่เหมาะสม (มอเตอร์กำลังสูงและนาฬิกาที่ไม่ใช้ quartz) คุณไม่มีทางเลือกอื่นที่จะปรับความถี่ได้เลย ในสถาทูตหรือโรงงานอาจมีการใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดใหญ่เพื่อให้ได้ความถี่ตามต้องการ แต่ไม่มีวิธีการที่เหมาะสำหรับนักเดินทางชั่วคราว
ถ้าคุณจำต้องใช้ความถี่ไฟฟ้าที่ต้องการจริงๆ คุณอาจใช้เครื่องแปลงไฟฟ้า (inverter) แบบที่ใช้ในรถยนต์ ที่แปลงจากไฟ 12 โวลต์ เป็นไฟบ้าน อย่างไรก็ตามพึงระลึกว่าคลื่นที่ได้อาจไม่ใช่คลื่นรูปซานที่สมบูรณ์แต่อาจเป็นคลื่นรูปฟันเลื่อย นอกจากนี้ก็ยังต้องมั่นใจว่าเครื่องแปลงไฟฟ้านั้นจ่ายกำลังไฟฟ้าเพียงพอกับอุปกรณ์ที่จะใช้
ญี่ปุ่นเป็นกรณียกเว้นพิเศษ ญี่ปุ่นตะวันออก (เช่น โตเกียว) ใช้ความถี่ 50 Hz ส่วนญี่ปุ่นตะวันตก (เช่น โอะซะกะ) ใช้ความถี่ 60 Hz อุปกรณ์ที่ผลิตสำหรับตลาดญี่ปุ่นอาจมีปุ่มปรับเลือกความถี่ 50 Hz หรือ 60 Hz
แหล่งจ่ายไฟฟ้าที่ไม่เสถียร
[edit | edit source]ในประเทศกำลังพัฒนา บางครั้งการจ่ายกระแสไฟฟ้าก็ไม่มีเสถียรภาพ คุณจำต้องใช้ความระมัดระวังในการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าของคุณ
อันตรายที่สำคัญที่สุดคือ ไฟกระชาก (power spikes) ซึ่งแรงดันไฟฟ้าสูงขึ้นกว่าปกติเพียงเสี้ยววินาที แต่อาจสร้างความเสียหายใหญ่หลวงได้ ในประเทศพัฒนาแล้วสาเหตุหลักของไฟกระชากเกิดจากฟ้าผ่า แต่ในประเทศกำลังพัฒนาปัญหานี้มาพร้อมกับ ไฟดับ และเมื่อไฟกลับมาก็มักจะไม่กลับมาอย่างราบรื่น วิธีที่ง่ายที่สุดในการป้องกันปัญหานี้คือถอดปลั๊กเมื่อไฟฟ้าดับ และรอให้ไฟกลับมาสักสองสามนาทีก่อนที่จะเสียบปลั๊กกลับไป
อุปกรณ์ป้องกันไฟกระชาก (surge protectors) เป็นอุปกรณ์ที่ออกแบบมาเพื่อป้องกันกระแสไฟที่ขึ้นๆ ลงๆ และมีขนาดเล็กสามารถพกพาได้สะดวก ยังมีอุปกรณ์ป้องกันไฟกระชากสำหรับสายโทรศัพท์ที่เชื่อมต่อกับแฟกซ์หรือโมเด็มอีกด้วย อุปกรณ์ที่ใช้กันมากที่สุดคือ metal oxide varistor (MOV) ซึ่งจะลัดวงจรลงสายดินทันทีเมื่อแรงดันเกินกว่าที่กำหนด อุปกรณ์แบบนี้พังง่ายเมื่อมีไฟกระชาก และบางรุ่นจะมีไฟเตือนบอกว่าอุปกรณ์เสียหายแล้ว คุณควรตรวจสอบอุปกรณ์เหล่านี้เสมอเพราะว่ามันยังจ่ายไฟได้แม้ว่าความสามารถในการป้องกันไฟกระชากได้เสื่อมลงแล้ว นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ป้องกันไฟกระชากแบบที่ใช้ ฟิวส์ ซึ่งจะหากขาดแล้วก็จะไม่จ่ายไฟให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าอีกต่อไป แต่ก็เปลี่ยนใหม่ได้สะดวก อย่างไรก็ดีอุปกรณ์แบบฟิวส์นี้อาจจะตอบสนองต่อไฟกระชากได้ช้า กว่าฟิวส์จะขาดอุปกรณ์ของคุณก็อาจเสียหายไปแล้ว
ในบางที่ โดยเฉพาะย่านที่ชุมชนที่ขยายตัวโดยไม่มีการวางแผนโครงสร้างพื้นฐานที่ดี คุณอาจพบกับ ไฟตก เช่น แทนที่จะได้ไฟ 240 โวลต์ กลับได้ไฟเพียง 200V หรือน้อยกว่า (บางครั้งต่ำถึง 50% ของแรงดันปกติก็พบได้) เหตุการณ์แบบนี้พบได้บ่อย โดยเฉพาะเมื่อคุณอยู่ทางปลายสาย (ไกลจากหม้อแปลง) โดยเกิดจากความต้านทานในสายส่ง อุปกรณ์บางอย่าง เช่น หลอดไฟแสงสว่า อุปกรณ์ทำความร้อน อาจทำงานได้ตามปกติ แม้ว่าแรงดันที่ลดลง 20% จำทำให้พลังงานที่จ่ายได้ลดลง 36% อย่างไรก็ดี แรงดันเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับ หลอดเรืองแสง ตู้เย็น และเครื่องปรับอากาศ ซึ่งมักจะหยุดทำงาน (แต่มักจะไม่เสียหาย เมื่อไฟกลับมาตามปกติก็จะกลับมาทำงานใหม่อีกครั้ง)
ไฟตกอาจแก้ไขได้ด้วย voltage stabiliser หรือ AVR (Automatic Voltage Regulator) โดยอุปกรณ์ที่ว่านี้จะเพิ่มแรงดันกลับสู่ภาวะปกติ ซึ่งหลักการก็เหมือกับ switching converters แต่ว่า stabilisers จะให้ไฟฟ้าที่เสถียร แม้ว่ากระแสไฟฟ้าที่ป้อนเข้ามาจะไม่เสถียร Stabilisers มีขนาดต่างกันไปตามกำลังไฟฟ้าที่จ่ายได้ แต่มักมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะแก่การเคลื่อนย้ายไปพร้อมกับการเดินทางระยะสั้น พึงสังวรณ์ว่าอุปกรณ์บางอย่าง เช่น ตู้เย็น มอเตอร์ไฟฟ้า รวมถึงขดลวดทำความร้อน และหลอดไส้ อาจใช้พลังงานมากกว่าปกติตอนเริ่มทำงาน และอาจมากถึง 2 หรือ 3 เท่าของอัตราปกติ จึงต้องเลือกใช้ stabiliser ที่จ่ายไฟได้ตามอัตราที่อุปกรณ์ต้องการในช่วงต้นนี้ด้วย stabilisers อาจปล่อยกระแสไฟกระชากหากแหล่งจ่ายไฟดับลงกระทันหันแล้วแต่ชนิดของ stabiliser รุ่นที่มีราคาถูกและใช้ relay อาจทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เสียหายได้
เครื่องใช้ไฟฟ้า
[edit | edit source]ถ้าคุณกำลังจะซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าใหม่ ลองตรวจสอบระบบแรงดันให้เคยชิน เครื่องหนีบผมตรงแบบใช้ไฟได้ทั้งสองแรงดันมักราคาไม่ต่างจากเครื่องที่ใช้กับแรงดันค่าเดียว แถมยังช่วยลดเรื่องปวดหัวเวลาเดินทางได้
คอมพิวเตอร์พกพา
[edit | edit source]Virtually all laptop computers (including those with internal power supplies) will handle well a range of 100 to 240 volts and a frequency of 50 to 60Hz. In other words, you won't need a converter/transformer; most power supplies have supported ranges printed directly on them so have a look. You will still need to check that you have the plug that matches the outlet for the country you are going to to see if you need to buy an adaptor.
Laptop computer power supplies are generally very good at accepting a poor or varying supply. Many manufacturers use the same type of supply, so getting spares is not too hard. The type used by HP/Compaq is very common. It is very easy and cheap to get a spare supply from sites such as Ebay. However, make sure it is a genuine manufacturer replacement and not a cheap copy. With a spare, you can take a risk with an unknown supply. Of course, do not take any risks if your laptop is one of the few with an internal supply.
If you are taking a laptop, you can use it to charge other items using a USB port on the laptop, even if they are normally not connected to it - this can save you a bundle of transformers in your luggage. Just make sure you have the correct USB cable - there are many different types.
วิทยุ
[edit | edit source]Radios also tend to be interchangeable from country to country. The exact FM range being used in a few countries is different, so you may not be able to access all stations. In the US, only odd channels (88.1,88.3, 100.1 etc) are used. A radio intended exclusively for the US market will not work well in most other countries. Japan, in particular, has an FM band from 76 MHz to 90 MHz rather than the more common 87.5 MHz to 108 MHz. The countries of the former Soviet Union have also used a similar band. For the medium wave band, channel spacings (the difference between each valid frequency) can be 9kHz (Europe) or 10kHz (Americas). Radios with digital display and buttons for tuning may have a switch or setting to choose which channel spacing is used. Without this, they will not work correctly outside their intended market. Old-fashioned analog-dial tuners don't have this limitation.
If you need a new radio for international travel, consider one that includes the shortwave band (SW). This way, you can receive news and information from all over the world (BBC, Deutsche Welle, Voice of America, Radio Australia, etc.) Shortwave is above the medium wave band (in frequency terms), but travels a lot further, especially after dark. In the past few years, the size and price have come down considerably for AM/SW/FM radios, and they are much easier to use. A handful of stations now require the SSB function (normally used by hobbyists for voice communication), but for most people it's not essential.
วิทยุดิจิตอล
[edit | edit source]Digital radio is in use in some countries, but has generally not attracted large audiences. So radio listening remains a predominantly analogue world, unlike television. The most common systems are DAB (Europe), DAB+, DRM and HD Radio (US). For travellers, an analogue radio is the best choice.
โทรศัพท์เคลื่อนที่และกล้องถ่ายภาพ
[edit | edit source]Chargers for these may work with both 110V and 240V systems, though you may still need an adaptor plug or have to use the shaver socket. You may be able to get a second charger for the other voltage system, or even a dual voltage charger designed for both systems. However, your mobile phone handset may not be compatible with the country's network, or you may be limited to certain cellular providers. (See Telephone service for travel#Cell phones.)
อุปกรณ์ที่ใช้แบตเตอรี่ทั่วไป
[edit | edit source]Battery sizes and voltages tend to be standard from place to place, and equipment that uses off-the-shelf batteries tends to be interchangeable. It may be difficult to get good quality batteries in some countries, especially alkaline batteries which are needed by most electronic equipment. If a cheaper battery is used, make sure to remove it as soon as it is exhausted or if the equipment will not be used for a while due to the risk of leakage.
Dual voltage battery chargers for NiCad and NiMH generally cost no more than single voltage ones, but you need to look for this feature before you buy. If an existing single-voltage charger uses a 12 volt DC adapter, find a quality dual-voltage adapter (110V - 240V) at 12 Volts DC with its DC current rating (in milliAmps) equal or higher, and the same size plug on the charger end. (This is not possible if the charger plugs directly into the power mains without any cord.)
ระแวดระวัง
[edit | edit source]Large appliance power mains (Single, split phase or three phase supply)
[edit | edit source]In most countries, electrical power is distributed to industrial/commercial buildings such as large hotels and factories using a three phase system. There are 3 different live/phase wires and optionally a single neutral wire. Three-phase outlets (while rare) appear primarily in industrial buildings. They can be identified by seemingly non-standard connectors (compared to the ordinary domestic plug and socket for a country), physically larger as these carry more power and typically with four or more pins to accommodate the three phases plus a neutral or ground. These are appropriate for running large machines with motors, large air conditioners, industrial/commercial ovens and other power hungry appliances. Regardless of how many phases are in use, the frequency (50Hz or 60Hz) of the supply remains unchanged.
On these systems (if a neutral wire is present) the voltage from one phase to another phase is 1.73 times the voltage from one phase to neutral or ground. A 415V three-phase Y has 240V from each phase to neutral, a system with 208 volts phase-to-phase has 120V from a phase to neutral.
Domestic outlets are invariably single phase. A domestic outlet will receive just one of these phase wires and a neutral wire.
In countries with a poor distribution network, it is not unknown for single phase sockets to be connected across 2 phases to boost the voltage. This is dangerous and can damage electronic equipment. As a general rule, do not attempt to connect your personal electrical items directly to an unknown three-phase system.
In North America there is a further variation; the centre-tapped 240V system. This is a nominally single phase system consisting of two live wires (giving a total 240V 60Hz line-to-line) plus a neutral (so either side of the line to neutral is 120V 60Hz). A 240V socket on this system is normally identified by both current-carrying blades being turned sideways (so that a 120V plug will not fit a 240V socket) or by the use of physically larger, incompatible connectors (an electric stove or range typically bears a heavy, four-wire cord which carries both sides of the line, a neutral and a protective ground on a special oversize plug).
If you see a non-standard (for its country) or oversized connector, be advised that the voltage or current delivered may also be non-standard (for instance, 240V 60Hz feeding a large appliance in a nominally 120V region). Don't just connect and hope for the best.
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
[edit | edit source]ในหลายประเทศที่ยังไม่มีระบบไฟฟ้าพื้นฐานที่ดีพอหรือในสถานที่ห่างไกล การใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเป็นสิ่งที่พบได้บ่อย เครื่องกำเนิดไฟฟ้าในบางที่ก็ทำงานได้ดี แต่ในหลายแห่งอาจทำงานห่วยและสร้างปัญหาให้กับอุปกณ์ไฟฟ้าที่เชื่อมต่อได้ แรงดันไฟฟ้า ความถี่ และรูปคลื่น (ควรเป็นคลื่นไซน์ที่เรียบ) อาจผันแปรไปได้ ในบางที่มีการดัดแปลงเครื่องกำเนิดไฟฟ้าให้หมุนเร็วขึ้น เพื่อให้ได้แรงดันและกำลังไฟฟ้าเพิ่มขึ้น แต่นี่ก็เพิ่มความถี่ด้วย สิ่งทีทำให้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าหมุนด้วยความเร็วคงที่เรียกว่า governor ถ้ามีการดัดแปลงอุปกรณ์ชิ้นนี้ แรงดันไฟฟ้าที่ได้มาอาจสูงผิดปกติและทำลายอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อได้ คำแนะนำที่ดีที่สุดคืออย่างเสี่ยงเชื่อมต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าของคุณเข้ากับระบบเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่คุณไม่ไว้ใจ หรืออย่างน้อยก็รีบถอดปลั๊กออกเสียเมื่อใช้เสร็จ
ถ้าคุณไม่แน่ใจเกี่ยวกับคุณภาพของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า มีกฎง่ายๆ ที่ช่วยคุณดู ถ้าใช้น้ำมันเบนซินน่าจะเป็นเครื่องที่ไม่ดี เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ดีมักใช้น้ำมันดีเซล นอกจากนี้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ดีมักใช้รอบการหมุนต่ำ เช่น 1500 รอบต่อนาที (RPM) สำหรับ 50Hz หรือ 1800 รอบต่อนาที สำหรับ 60Hz ถ้าความเร็วเครื่องยนต์สูงตั้งแต่ 3000 รอบต่อนาที ขึ้นไปไม่ถือว่าเป็นระบบเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ดี
ไฟแสงสว่าง
[edit | edit source]Lamps and their light bulbs are very sensitive to voltage. If you shift between voltage systems, you will need to change the light bulbs to match the voltage, unless the lamp is designed to operate on both systems, say through a low voltage adaptor. If you buy a lamp abroad, you may need to have an electrician completely rewire a lamp when you get home to comply with your country's electrical safety standards. This may not be a problem for a one-off special item, but if you are going into the importing business it could be a show stopper.
Also watch out for the light bulb connection. In 100-127V systems this is often a screw connector while in 220-240V systems it is often a bayonet connector. These connectors also come in at least two different sizes. Be sure you can obtain light bulbs of the right voltage, size, and connector shape in the country you intend to use the lamp, and at a reasonable price, or the lamp may become little more than junk when the bulb fails.
Note that fluorescent and LED lighting contains electronics and must use a heavy iron-core transformer to convert voltage. Converters are not acceptable.
Some fluorescent units might be sensitive to changes in frequency (50 or 60 Hz) if it's not the same as what is specified. Most affected are fixtures with a large coil or inductor as "ballast" to limit the current into the bulb, as the impedance of these coils is directly proportional to frequency. Electronic ballasts usually convert the AC line directly to DC (and then to a higher-frequency AC), causing line frequency to be ignored.
มอเตอร์ไฟฟ้า
[edit | edit source]The electric motors in things like refrigerators, vacuum cleaners, washing machines and other whiteware are often sensitive to frequency. Older hairdryers and electric shavers might be also. Even if you use a step-up or step-down transformer, the different supply frequencies mean that motors will run at the wrong speed and quickly burn out. The larger and more powerful the motor is, the more this is true. Don't, for example, bring a vacuum cleaner from the US to Europe (or vice versa). It's almost guaranteed to fail--even if you have a voltage converter.
เครื่องโกนหนวด
[edit | edit source]Hotels often provide a special electrical outlet specifically for electric shavers. They allow any voltage shaver to be plugged into them and be used safely in front of the bathroom mirror. They may also accept your cellphone adaptor or similar low power battery charging unit. Many--but not all-- electric shavers sold today are dual voltage 50/60Hz and some will even recharge the battery at 12V DC (such as in an automobile). Check the label and instructions for compatibility.
ไดร์เป่าผม
[edit | edit source]Hairdryers are a particular risk; if you accidentally plug your 100-120V hairdryer into a 240V outlet. you may find it catching fire in your hands! Newer models should have a thermal switch, though. Allow 15-20 mins for it to cool down, then use a voltage converter (if the dryer is 50 Hz compatible). Similarly, a 220-240V hairdryer in a 120V outlet may run slowly and not heat up enough. Most good hotels and motels will be able to supply a hair drier, and it may even be a room fitting. However, it may be worthwhile buying or borrowing a hairdryer suited for the electrical system of countries you'll be traveling in.
Many new hairdryers sold in 100-120V countries are dual voltage with settings for 100-120V and 220-240V. Even though it's motorized, it will work on either 50 or 60 Hz. Don't forget to lockout the high setting with a flat screwdriver or something similar. At 220-240V, the low setting becomes as powerful as the high setting was at home (with 'low' unavailable).
นาฬิกา
[edit | edit source]นาฬิกาที่ต่อไฟบ้านเป็นอุปกรณ์ที่ว่องไวต่อแรงดันไฟฟ้า ถ้าแรงดันเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าหรือลดลงเหลือครึ่งเดียวมันอาจไม่ทำงานและอาจไหม้ได้ นอกจากนี้ความถี่ไฟฟ้า (50 หรือ 60 เฮิรต์) เป็นสิ่งที่ใช้กำหนดเวลาในนาฬิการาคาถูก (เช่น นาฬิกาวิทยุ) ดังนั้น หากคุณนำนาฬิกาจากอเมริกาเหนือไปใช้ในยุโรป แม้ว่าจะมีเครื่องปรับแรงดันแล้ว มันก็ยังเดินช้าไป 10 นาทีต่อชั่วโมง! นี่คงเป็นเรื่องแย่มากหากคุณต้องไปให้ทันรถไฟ อย่างไรก็ดี หากนาฬิกามีคริสตัลเป็นเครื่องกำเนิดความถึ่ของตนเอง นาฬิกาจะเดินได้โดยไม่ต้องอาศัยความถี่จากไฟบ้าน นอกจากนี้นาฬิกาที่ใช้แบตเตอรี่ราคาถูกที่มีไฟหรือพรายน้ำด้วยก็มีราคาไม่แพงนักและหาได้ง่าย นี่เป็นทางเลือกที่ดีสำหรับจุดหมายปลายทางที่ระบบไฟฟ้าไม่เสถียรหรือต่างออกไปจากต้นทาง
อุปกรณ์วีดีทัศน์
[edit | edit source]Televisions, many radios, video and DVD players, as well as videotapes, are often specific to the broadcast system used in the country that they are sold in, usually associated with the frequency of the country's electric current. For example, North America is 60 Hz and its television is 30 frames per second, while Europe is 50 Hz and its television is 25 frames per second. The main three analogue television broadcast systems are PAL, the closest to a worldwide standard, NTSC, used mostly in the Americas and some East Asian countries (notably Japan, South Korea, and Taiwan) and SECAM, originally from France and adopted by much of Eastern Europe and the Middle East, but there are various incompatibilities even within these supposed standards. There is no difference between PAL and SECAM for unconverted DIGITAL video including DVDs. However, any analog output to a television set would be in the native format of the country of location. Brazil uses a hybrid PAL/NTSC standard called "PAL-M". In Brazil, DVDs and video tape are the same as NTSC (without region coding- see below), but all players and TV sets are useless outside the country unless they have a separate NTSC setting.
Before purchasing any video equipment, read the manual and warranty carefully. For TVs and VCRs, don't forget about cable television frequencies; they may not be the same, even if everything else is. Television sets often won't work correctly in another country from where they were sold, even if the voltage and video standard are the same. For example, an analogue television set made for the USA will skip a few channels in Japan.
Furthermore, many countries have or are in the process of switching to digital over-the-air broadcasting, (dates by country). For over-the-air digital TV, there are also multiple standards; DVB is most common worldwide, but is incompatible with the US system (ATSC, used in South Korea and North America) which is incompatible with the Japanese system.
Unless you have an internationally compatible device, you may find your expensive looking system is little more than worthless junk in another country because it won't work with your country's broadcast system. Your warranty is probably only valid in the country of purchase, and you may need to return the goods to the place you purchased them from.
The final problem with transporting TVs is that many European countries, notoriously the UK, require a license to watch any live TV (over-the-air, cable, satellite, and even live-streams on the internet). Fines can be hefty (in addition to being charged for the license).
DVD and Blu-Ray, infuriatingly, have completely artificial limitations introduced in the form of region coding, which attempts to limit the region where the discs can be used, as a technique to keep the various regions as separate markets. For example, a Region 1 player for North America will not play a Region 3 DVD for Hong Kong. The workarounds are to obtain either a regionless DVD player which ignores the code, purchase multi-region discs (Regions 1 and 3 in this case), or better yet, Region 0 discs, which can be played on any device. Blu-Ray discs cannot be played at all in a standard DVD player -- not even at a lower resolution. However, Blu-Ray discs played on a Blu-Ray player can be displayed on a standard def. television, provided you have the correct cables and connections. (HDMI cables are not compatible.)
Technically, there is no such thing as an NTSC or PAL DVD disc, as all color information is the same for both. When discs are labelled as such, what they're referring to is the picture size and frame rate (i.e. number of frames per second) that are used in most (but not all!) countries that have TV broadcasts on this same system. Many NTSC players cannot play PAL DVDs, unless that's a specific feature included (many Philips and JVC models include this). PAL DVD players are generally much better at playing NTSC, but it's not a certainty. If all else fails, a computer DVD-ROM can play any DVD movie, though there's a limit on how many times you can change the region code. Unlike analogue television sets, computer monitors can automatically handle both 25 (PAL and SECAM) and 30 (NTSC) frames per second, as well as various picture sizes. This also applies to LCD and plasma "flat panel" television sets, but don't expect their tuner to be compatible outside the country in which they were sold.
Video cameras can usually be charged with both electrical systems so you can record during travels and view it back home. Digital cameras and video cameras can usually output to both PAL, NTSC, and SECAM, so you can view your recording while travelling. Bring an RCA (yellow plug) to SCART adaptor if you plan to view video from a camcorder on a European television set.
If you have something on VHS video tape, it's best to convert to DVD before traveling. (Conversions between PAL and NTSC can be done before burning.) Use a video capture card for recording the VHS into a digital file on your computer. Then with DVD-making software, burn the file to a blank DVD.
If required, converting DVDs from one format to another (PAL, NTSC), can be done on a computer with a fast CPU, or you can get it done professionally. Allow plenty of time, as this can take many hours. Regular blank discs work fine for making copies of a foreign format, as it's all just a bunch of ones and zeros and no different than copying anything else. Copies can be made quickly, while conversions cannot.
Stay safe
[edit | edit source]The electrical engineer's maxim: The smoke that escapes from a device or a component is its spirit without which it cannot work. In other words: if smoke rises from the device, then it's destroyed.
The first time you use electrical equipment on a voltage system you haven't used before, watch for excessive heat, strange smells, and smoke. This is especially true for those residing in countries with 120V (USA, Canada, Japan, etc.) visiting places with the higher voltage. Smoke is a sure sign your equipment cannot cope with the voltage system.
If your electrical equipment gets very hot, smells of burning (there is a distinct smell of electrically fried circuit boards) or starts to smoke, turn it off at the wall or the main switch immediately, then carefully unplug the equipment. Do not disconnect or unplug by just grabbing the smoking device, its plug or cord, and then unplugging it, as these parts are probably very hot, and the insulation could be melted or unsafe, which could result in electrocution.
You may find your expensive equipment has been fried and needs to be replaced because the wrong voltage was used. However, if the equipment only got hot and did not smoke or produce strange burning smells you may be lucky. Some older devices have fuses that you may be able to replace. New devices, such as gaming consoles, will trip a circuit breaker. Disconnect them from all power and leave them for 60 minutes or so, and the circuit breaker will normally reset.
Do not rely on fuses to protect your equipment. If a fuse does blow, you should have things checked by an electrician before using the suspect equipment again.
In Third World countries with frequent blackouts, it's not at all uncommon for a visitor to plug something in and have the power go out coincidentally. Always check the neighborhood first, before blaming the appliance or looking at the fuse/circuit breaker.
This is a guide article. It has good, detailed information covering the entire topic. Plunge forward and help us make it a star! |
Wikipedia:Mains electricity by country